ตัวบ่งชี้ที่ 5.2  ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบ  VDO On Demand เพื่อการเรียนการสอนและวิชาชีพ

ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต

เกณฑ์การประเมิน :

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

คะแนน 4

คะแนน 5

ครบถ้วน

1 ประเด็น

ครบถ้วน

2 ประเด็น

ครบถ้วน

3 ประเด็น

ครบถ้วน

4 ประเด็น

ครบถ้วน

5 ประเด็น

เกณฑ์มาตรฐาน : ประเด็น

ผลการดำเนินงาน

ประเด็นที่ 1 จำนวนเนื้อหาวิชา VDO On Demand เพื่อการเรียนการสอนในหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ที่ผลิตใหม่ประจำปีการศึกษา 2555 ไม่น้อยกว่า 20 วิชาโดย กลุ่มงานพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ได้ดำเนินการผลิตเนื้อหารายวิชา Video On Demand เพื่อการเรียนการสอนในหลักสูตรของมหาวิทยาลัย เสร็จสมบูรณ์ในปีการศึกษา 2555  ทั้งสิ้นจำนวน 12 วิชา 154 ตอน แบ่งได้ดังนี้
1. ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวน 4 รายวิชา 42 ตอน2. ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวน 8 รายวิชา 112 ตอน 
ประเด็นที่ 2 จำนวนเนื้อหา VDO On Demand หลักสูตรวิชาชีพ (บริการวิชาการแก่สังคม) ที่ผลิตใหม่แล้วเสร็จประจำปีการศึกษา 2555 ไม่น้อยกว่า 180 ตอนโดย กลุ่มงานพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา ได้ดำเนินการผลิตเนื้อหาVideo On Demand หลักสูตรวิชาชีพ (บริการวิชาการแก่สังคม) เสร็จสมบูรณ์ในปีการศึกษา 2555  ทั้งสิ้นจำนวน 8 วิชา 105 ตอน แบ่งได้ดังนี้
1. ภาคการศึกษาที่ 1 จำนวน 2 รายวิชา 18 ตอน2. ภาคการศึกษาที่ 2 จำนวน 6 รายวิชา 87 ตอน 
ประเด็นที่ 3 จำนวนครั้งของการเข้าใช้ VDO On Demand เพื่อการเรียนการสอนในหลักสูตรประจำปีการศึกษา 2555 ไม่น้อยกว่า 130,000 ครั้งโดย จำนวนครั้งของการเข้าใช้ Video On Demand เพื่อการเรียนการสอนในหลักสูตรประจำปีการศึกษา 2555 จำนวนทั้งสิ้น 133,713 ครั้ง
ประเด็นที่ 4 มีการสำรวจความพึงพอผู้ใช้ระบบ VDO On Demand เพื่อการเรียนการสอนในชั้นเรียนในปีการศึกษา 2555 มีค่าเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 4.00โดย การสำรวจความพึงพอผู้ใช้ระบบ VDO On Demand เพื่อการเรียนการสอนในชั้นเรียนในปีการศึกษา 2555 มีค่าเฉลี่ยดังนี้1. ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ในระดับ 4.36
2. ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจอยู่ในระดับ 3.99 
ประเด็นที่ 5 มีการปรับปรุงระบบ VDO On Demand ตามข้อเสนอแนะของผู้ใช้-

 

ประเมินตนเอง/การบรรลุเป้าหมาย

ค่าเป้าหมาย

(ประเด็น)

4 เดือน

(1 มิย.55-30 กย.55)

8 เดือน

(1 มิย. 55-31 มค. 56)

12 เดือน

(1 มิย. 55-31 พค. 56)

การบรรลุเป้าหมาย 12 เดือน

12 เดือน  งปม. 55

(1 ตค.54-30 กย. 55)

6 เดือน งปม. 56

(1 ตค.55-31 มีค. 56)

9 เดือน งปม. 56

(1 ตค.55-31 พค. 56)

/

ผล

คะแนน

ผล

คะแนน

ผล

คะแนน

ต่ำกว่าเป้าหมาย  

เท่ากับเป้าหมาย

สูงกว่าเป้าหมาย 

4

N/A

N/A

N/A

N/A

2

2

 

 

รายการหลักฐาน

รหัสหลักฐาน

รายการ

สวท5.2-1-1

รายงานสรุปจำนวนสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ e-Learning ที่ผลิตได้เสร็จสมบูรณ์

สวท.5.2-1-2

สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ VDO On Demand ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2555

สวท.5.2-1-3

สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ VDO On Demand ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2555

สวท.5.2-1-4

วิชาการตลาดบริการ

สวท.5.2-1-5

วิชาอาหารจานด่วนเพื่อสุขภาพ 9

สวท.5.2-1-6

วิชาศิลปะการแกะสลักผัก ผลไม้ และสบู่ 7

สวท.5.2-1-7

วิชาก้าวไกลกับสถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.พระนคร 3

สวท.5.2-1-8

วิชาอาหารจานด่วนเพื่อสุขภาพ 10

สวท.5.2-1-9

วิชาการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร

สวท.5.2-1-10

วิชาก้าวไกลสถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.พระนคร 4

สวท.5.2-1-11

วิชาการแปรรูปผลิตภัณฑ์ผักตบชวา

สวท.5.2-1-12

วิชาสร้างสรรค์งานผ้า 4

สวท.5.2-1-13

วิชาสารพันงานประดิษฐ์

สวท.5.2-1-14

วิชาแบบตัดกางเกง

สวท.5.2-1-15

วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

สวท.5.2-2-16

รายงานสรุปจำนวนเนื้อหา VDO On Demand (บริการวิชาการแก่สังคม)

สวท.5.2-2-17

วิชาอาหารจานด่วนเพื่อสุขภาพ 9

สวท.5.2-2-18

วิชาศิลปะการแกะสลักผัก ผลไม้ และสบู่ 7

สวท.5.2-2-19

วิชาอาหารจานด่วนเพื่อสุขภาพ 10

สวท.5.2-2-20

วิชาการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร

สวท.5.2-2-21

วิชาการแปรรูปผลิตภัณฑ์ผักตบชวา

สวท.5.2-2-22

วิชาสร้างสรรค์งานผ้า 4

สวท.5.2-2-23

วิชาสารพันงานประดิษฐ์

สวท.5.2-2-24

วิชาแบบตัดกางเกง

สวท.5.2-3-25

รายงานสรุปจำนวนครั้งของการเข้าใช้ VDO On Demand เพื่อการเรียนการสอน

สวท.5.2-4-26

แบบประเมินความพึ่งพอใจของผู้ใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand

สวท.5.2-4-27

สรุปผลการประเมิน ความพึ่งพอใจของผู้ใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555

สวท.5.2-4-28

สรุปผลการประเมิน ความพึ่งพอใจของผู้ใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555

 

 จุดแข็ง

  1. บุคลากรมีศักยภาพทางด้านความรู้ความสามารถด้านการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์
  2. มีความพร้อมทางด้านสถานที่และอุปกรณ์ในการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์
  3. เนื้อหาของสื่อที่ผลิตขึ้นในรูปแบบ Video On Demand สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริงตามสาขาวิชาชีพต่างๆ
  4. มีเว็บไซต์ที่สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลสื่อในรูปแบบ Video On Demand ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
  5. สื่อที่ผลิตได้ในรูปแบบ Video On Demand มีคุณภาพตามมาตรฐานการออกอากาศรายการโทรทัศน์
  6. อาจารย์ผู้ถ่ายทอดความรู้มีความสมัครใจในการเผยแพร่ความรู้เพื่อเป็นวิทยาทานแก่สังคม

 จุดที่ควรพัฒนา

  1. มหาวิทยาลัยควรมีงบประมาณในการสนับสนุนให้แก่อาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์
  2. ปรับปรุงและขยายพื้นที่ห้องสตูดิโอให้มีพื้นที่กว้าง เพื่อเพิ่มความสะดวกในการบันทึกเทป
  3. จัดสรรอุปกรณ์ในการจัดเก็บข้อมูลสื่ออิเล็กทรอนิกส์แบบ Video On Demand ที่ผลิตขึ้นอย่างเพียงพอ
  4. ปรับปรุงเว็บไซต์ให้มีความสวยงาม น่าสนใจมากยิ่งขึ้น และปรับปรุงใหม่ทุกๆปี
  5. ปรับปรุงรูปแบบเว็บไซต์ ให้รองรับการเข้าถึงสื่อได้ตรงตามความต้องการ
  6. ควรมีการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนในการให้บริการแก่ชุมชนและสังคมให้มากขึ้น
  7. ควรมีการเผยแพร่ตามช่องทางต่างๆ เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ให้หน่วยงานอื่นได้ทราบ

 

แนวทางแก้ไข  สนับสนุนและแผนการพัฒนาส่งเสริมจากผลการประเมินตนเองตามมาตรฐาน มทร.พระนคร ปีการศึกษา 2555

แผน/โครงการ/กิจกรรม

ผู้รับผิดชอบ

งปม./ระยะเวลาดำเนินการ

แผนส่งเสริม1. ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพของระบบการผลิตสื่อให้มีมาตรฐาน2. ส่งเสริมให้มีการประเมินผลคุณภาพสื่อที่ผลิตขึ้นในแต่ละรายการ3. ส่งเสริมการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์เพื่อการศึกษา แก่อาจารย์หน่วยงานต่างๆ

4. ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพของระบบการเผยแพร่สื่อให้มีมาตรฐาน

5. ส่งเริมการเผยแพร่สื่อที่ผลิตขึ้นให้กว้างขวาง เพื่อประโยชน์แก่ประชาชน

 

– ผู้อำนวยการ สวท.- รองฝ่ายวิทยบริการและนวัตกรรมการศึกษา- งานพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา 

2556

แผนพัฒนา1. จัดสรรงบประมาณให้แก่อาจารย์ที่เข้าร่วมโครงการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์2. พัฒนาด้านอุปกรณ์และสถานที่ เพื่อผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น3. พัฒนาแผนการอบรม ศึกษาดูงาน และให้ความรู้แก่บุคลากรที่รับผิดชอบการผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ให้ทันสมัยและเพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต

4. พัฒนาระบบประเมินผลคุณภาพสื่อ ให้มีความสะดวกและเหมาะสมกับผู้ใช้มากยิ่งขึ้น

5. พัฒนาการปรับปรุงระบบเผยแพร่สื่อที่ผลิตขึ้นให้มีคุณภาพ

6. พัฒนาโครงการปรับปรุงรูปแบบเว็บไซต์ ให้รองรับการเข้าถึงสื่อได้ตรงตามความต้องการ

7. พัฒนาโครงการเผยแพร่สื่อที่ผลิตขึ้นในรูปแบบต่างๆ ที่หลากหลาย

8. จัดสรรงบประมาณในการผลิตสื่อเพื่อชุมชนและสังคม

9. สนับสนุนงบประมาณด้านอุปกรณ์และสถานที่ เพื่อผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น

 

2556